วิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย กลุ่ม 104
เวลาที่เข้าเรียน :08.30 น. อาจารย์เข้าสอน:08.40 น. เลิกเรียนเวลา:12.10 น.
วันที่14 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2556
5.เปิดโอกาสให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
เวลาที่เข้าเรียน :08.30 น. อาจารย์เข้าสอน:08.40 น. เลิกเรียนเวลา:12.10 น.
วันที่14 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2556
อาจารย์ให้ดูตัวเลขและอภิปรายกันในห้องเรียนว่าตัวเลขเรานึกถึงอะไรที่มีความสัมพันธ์กับอะไร |
ความหมายของคณิตศาสตร์
หมายถึง วิชาที่ว่าด้วยการคำนวณทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ การนับ การคำนวณ การประมาณมีความสัมพันธ์กับชีวิตประจำวันของมนุษย์เด็กใช้คณิตศาสตร์อย่างง่ายจากความคิดของตนแล้วค่อยๆพัฒนาถึงความคิดแบบคณิตศาสตร์อย่างถูกต้องและใช้เป็นเครื่องมือในการเรีนรู้ในเรื่องอื่นๆ
ความสำคัญของทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
"เป็นพื้นฐานที่ช่วยให้เด็กรู้จักแก้ปัญหามีความสามารถในการคิดคำนวณและอื่นๆ"
ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ช่วยให้เด็กมีความพร้อมที่จะเรียนคณิตศาสตร์เบื้องต้น ได้แก่ การรู้จักสังเกตเปรียบเทียบ การจัดหมวดหมู่ การเพิ่มขึ้นและการลดลง ช่วยขยายประสบการณ์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ให้สอดคล้องเป็นลำดับจากง่ายไปหายาก ช่วยให้เด็กเกิดความเข้าใจในความหมายของสัญลักษณ์ต่างๆสามารถใช้ภาษาเกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง
แนวทางในการส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
1. ศึกษาและทำความเข้าใจหลักสูตร
2.ศึกษาพัฒนาการด้านต่างๆ ความต้องการและความสามารถของเด็กปฐมวัย
3.จัดหาสื่อการเรียนที่เด็กสามารถจับต้องให้ได้อย่างพอเพียง โดยใช้ของจริง ของจำลอง รูปภาพจากสิ่งแวดล้อมและสิ่งที่เด็กคุ้นเคย สื่อที่ใช้มี 4 ประเภท คือ วัสดุทำขึ้นเอง วัสดุราคาถูก วัสดุเหลือใช้และวัสดุท้องถิ่น
4.จัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับประสบการณ์ในชีวิตประจำวันของเด็ก
การทำงานของกลุ่มดิฉันโดยเมื่อเสร็จก็อภิปรายกลุ่มมาเขียนสรุปแนวคิด |
6.จัดประสบการณ์ให้เด็กได้คิดแก้ปัญหา
7.จัดกิจกรรมโดยคำนึงถึงความแตกต่าง
8.สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบ้าานและโรงเรียน
9.จัดสภาพแวดล้อมทั้งในและนอกห้องเรียน
หลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้ทำงานกลุ่ม 5 คน โดยกลุ่มดิฉันได้เรื่อง "พัฒนาการของเด็กปฐมวัย"
ผลงานการทำงานกลุ่มพัฒนาการเด็กปฐมวัย |
ประเมินตนเอง
ตอบคำถามอาจารย์และเป็นตัวแทนของกลุ่มหรือเรียกว่า ตัวแทนบ้านนั้นเอง
ประเมินเพื่อน
เพื่อนทุกคนให้ความร่วมมือในการทำงานและเสนอความคิดเห็น มีการใช้กระบวนการกลุ่มให้มีประสิทธิภาพและความคิดที่มากขึ้น ยอมรับฟังปัญหาของผู้อื่นได้
ประเมินอาจารย์
อาจารย์มีการให้ตอบคำถามและใช้คำถามให้นักศึกษาคิดและโต้ตอบกับอาจารย์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น